วันศุกร์, 15 พฤศจิกายน 2567

ผบช.ภ.9 ร่วมกับวัดพะโคะและชมรมเเม่บ้านตำรวจภูธรภาค 9จัดโครงการเเบ่งรัก ปันสุขจัดทำอาหารเเละมอบสิ่งของให้กับชาวบ้านที่ได้ความเดือดร้อนจากอุทกภัยน้ำท่วมในพื้นที่ วัดพะโคะ อ.สทิงพระ จว.สงขลา

19 ธ.ค. 2020
วันที่ 19ธ.ค.63 เวลา 10.45 น.พล.ต.ท.รณศิลป์ ภู่สาระ ผบช.ภ.9 /รอง ผอ.กอ.รมน.ภ.4 ,นางจิตรา ภู่สาระ ประธานชมรมเเม่บ้านตำรวจภูธร ภ.9,พล.ต.ท.โพธ สวยสุวรรณ รอง ผบช.ภ.9,พล.ต.ต.ดำรัส วิริยะกุล รอง ผบช.ภ.9,พล.ต.ต.กฤษฎา เเก้วจันดี รอง ผบช.ภ.9,พล.ต.ต.อาชาน จันทร์ศิริ ผบก.ภ.จว.สงขลา ,พล.ต.ต.สันทัต วินสน ผบก.ภ.จว.ตรัง,พล.ต.ต.ทิวธวัช นครศรี ผบก.สส.ภ.9 เเละพระครูปุญญาพิศาลฯเจ้าอาวาสวัดพะโคะดำเนินโครงการเเบ่งรัก

มรภ.สงขลา ประชุมเชิงปฏิบัติการตรวจเยี่ยมพื้นที่สตูล รับฟังข้อมูลผลดำเนินงานที่สอดคล้องกับ ววน.

19 ธ.ค. 2020
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) นำโดย ดร.นราวดี บัวขวัญ รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์วิจัยและบริการวิชาการ อาจารย์พุฒิธร ตุกเตียน ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา ผศ.ดร.พลพัฒน์ รวมเจริญ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยและยุทธศาสตร์สถาบัน พร้อมด้วยบุคลากรจากสถาบันวิจัยและพัฒนา กองนโยบายและแผน วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ ร่วมจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการตรวจเยี่ยมพื้นที่เพื่อรับฟังข้อมูลการรายงานผลการดำเนินง

ท่าอากาศยานหาดใหญ่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมต้อนรับเที่ยวบินปฐมฤกษ์สายการบินนกแอร์ เส้นทาง อุบลราชธานี-สงขลา (หาดใหญ่) และสงขลา (หาดใหญ่)-อุบลราชธานี

18 ธ.ค. 2020
วันนี้ 18 ธันวาคม 2563 เวลา 11.25 น.นายจารุวัฒน์ เกลี้ยงเกลา ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา เป็นประธานในการต้อนรับเที่ยวบินปฐมฤกษ์สายการบินนกแอร์ พร้อมด้วยนายสุรพลกำพลานนท์วัฒนายกสมาคมสมาพันธ์ธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดสงขลา ผู้อำนวยการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (สำนักงานหาดใหญ่) โดยนายปเวษ เศียรอุ่น รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานหาดใหญ่ (ด้านปฏิบัติการและบำรุงรักษา) (รหญ.ปร.) ผู้แทนผู้อำนวยการท่าอากาศยานหาดใ

“คอลลาเจนไฮโดรไลเสท” จากหนังปลากระพงขาว สายพันธุ์ไทยแท้ โดยทีมนักวิจัย ม.อ. พร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตแก่บริษัทซีโฟร์ เกรท อินโนเวชั่น จำกัด เพื่อนำไปผลิต พัฒนาและต่อยอดนวัตกรรมให้คนไทยได้ใช้คอลลาเจนที่ดี มีคุณภาพและความปลอดภัย ทั้งยังช่วยลดการนำเข้าจากต่างประเทศ

18 ธ.ค. 2020
จากผลงานการวิจัย ศ.ดร.สุทธวัฒน์ เบญจกุล นักวิจัย ม.อ. (ม.สงขลานครินทร์) ผู้วิจัยเทคโนโลยีการผลิตคอลลาเจนไฮโดรไลเสทจากหนังปลา มานานกว่า 10 ปี โดยกรรมวิธีการผลิต“คอลลาเจนไฮโดรไลเสท (Hydrolysate) จากหนังปลา” เป็นการผลิตคอลลาเจนจากหนังปลาที่เหลือจากอุตสาหกรรมปลาแล่แช่แข็ง จากนั้น นำมาผ่านกระบวนการทำให้ขนาดโมเลกุลเล็กลง ซึ่งทำให้นำไปใช้ประโยชน์ในเชิงอุตสาหกรรมความงาม อาหารเสริม และเครื่องดื่ม ได้ง่ายแล